ChiangMai
x = independently organized TED event

Theme: Re-Together

This event occurred on
November 27, 2021
Chiang Mai, Chiang Mai
Thailand

We need to re-imagine, reset, and realign to build a better and sustainable future together.

Princess Sirindhorn Astropark (Narit)
Don Kaeo, Mae Rim District, Chiang Mai 50180
Chiang Mai, Chiang Mai, 50180
Thailand
Event type:
Standard (What is this?)
See more ­T­E­Dx­Chiang­Mai events

Speakers

Speakers may not be confirmed. Check event website for more information.

Aphisak Kamphen

Aphisak Kamphen (Aun) is a young organic farmer and youth leader from the Mae Tha Community in Northern Thailand. He gained a diploma in Industrial Design in the Fine and Applied Arts Program and decided to return home to pursue true happiness through a resilient way of living. He is the main coordinator and facilitator for the community on organic agriculture and conducts training and workshops for various groups who share the same values and vision on sustainable development. He also established and manages the “Mae Tha Sustainable Living” center for community learning, which aims to empower new generations and strengthen community networks in the organic movement in Thai society and beyond. อภิศักดิ์ กำเพ็ญ (อั๋น) เกษตรกรและแกนนำคนรุ่นใหม่ที่สนใจเกษตรอินทรีย์ จากชุมชนแม่ทา ทางเหนือของประเทศไทย จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาวิชาออกแบบอุตสาหกรรม และตัดสินใจกลับบ้าน เพื่อแสวงหาความสุขที่แท้จริงและวิถีชีวิตที่ยั่งยืน ทำงานเป็นผู้ประสานงานและช่วยเหลือชุมชนด้านเกษตรอินทรีย์ จัดอบรมและเวิร์คช็อปให้กับกลุ่มต่างๆ ที่เห็นคุณค่าของการพัฒนาที่ยั่งยืนและมีวิสัยทัศน์เดียวกัน เขาได้ก่อตั้งศูนย์ “วิถีชีวิตยั่งยืนแม่ทา” มุ่งสร้างพลังให้คนรุ่นใหม่และ เสริมสร้างเครือข่ายชุมชนที่สนใจการขับเคลื่อนด้านเกษตรอินทรีย์ในสังคมไทยและที่อื่นๆ

Boonsong Thansrithong

Boonsong has a bachelor’s degree in Agriculture (Dairy and Beef Production) from Maejo University, a Master’s in Agriculture (Agriculture Extension) and a Ph.D. in Social Science, both from Chiangmai University. He serves the ECHO Asia Foundation as Program manager. Boonsong has been involved in agricultural development focusing on natural farming since 1998. In earlier years, he worked with the Leprosy community in Chiang Mai and nearby provinces, and then he became involved with Malaria research for two years before shifting back to developmental projects. Boonsong has established two agricultural training centers to assist and develop people in need in Asia. The second center promotes species conservation through seedsaving , seed banking and related knowledge suitable in the context of development work in the Asia region. บุญส่ง สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีในคณะผลิตกรรมการเกษตร สาขา โคนมโคเนื้อ จาก มหาวิทยาลัยแม่โจ้ ปริญญาโท คณะเกษตร สาขาส่งเสริมการเกษตร จาก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ปริญญาเอก คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ใ ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง Program manager ให้กับมูลนิธิเอคโค่เอเชีย ประเทศไทย บุญส่ง ทำงานเกี่ยวข้องกับงานพัฒนาด้านการเกษตร โดยเน้นในรูปแบบเกษตรธรรมชาติมาตั้งแต่ปี 2541 เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน โดยช่วงแรกทำงานกับชุมชนผู้ป่วยโรคเรื้อนในเชียงใหม่ และ จังหวัดใกล้เคียง จากนั้นมีส่วนในงานวิจัยมาลาเรีย ก่อนกลับมาทำงานที่เกี่ยวกับการพัฒนา บุญส่งมีโอกาสสร้างศูนย์เรียนรู้การเกษตรเพื่อให้การพัฒนาให้กับผู้คนที่ต้องการความช่วยเหลือในเอเชียสองแห่ง แห่งที่สองซึ่งเป็นแห่งที่ส่งเสริมงานด้านการเก็บรักษาเมล็ดพันธุ์, ธนาคารเมล็ดพันธุ์ และองค์ความรู้ด้านอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ที่เหมาะสมกับบริบทของงานพัฒนาในภูมิภาคเอเชีย www.echonet.org

Bringkop Vora-urai

Bringkop Vora-urai graduated from the College of Music at Payap University in 1991. In 1997, he gained a Master’s in Ethnomusicology from Northern Illinois University (USA). An ethnomusicologist and composer, he is interested in blending the cultural elements of minority people in remote areas in northern Thailand into his contemporary Lanna music compositions. In 2003, he released “Bamboo in a Skyscraper - ลำไผ่ในตึกสูง”, his first recording project. The album features the Thai flute in all songs. In that year he also founded a Lanna contemporary orchestra called “The TIP Orchestra of Chiangmai”, which has performed in many major events around the country. He also founded the first Lanna Orchestra, which is a large orchestra consisting of musicians playing western instruments and Lanna musical instruments. The Lanna Orchestra first performed in the Light and Sound show for the grand opening of “Wiang Kum Kam: the Lost City” performed for then Queen Sirikit and Crown Prince Maha Vajiralongkorn. บฤงคพ วรอุไรสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยดุริยางคศิลป์มหาวิทยาลัยพายัพในปี 2534 และได้รับปริญญาโทสาขาชาติพันธุ์วิทยาจากมหาวิทยาลัยนอร์เทิร์นอิลลินอยส์ (สหรัฐอเมริกา) ในปี 2540 ในฐานะนักชาติพันธุ์วิทยาและนักแต่งเพลง เขาสนใจที่จะผสมผสานองค์ประกอบทางวัฒนธรรมของชนกลุ่มน้อยในพื้นที่ห่างไกลในภาคเหนือของประเทศไทยให้เข้ากับการประพันธ์เพลงล้านนาร่วมสมัยส่วนใหญ่ของเขาในปี พ.ศ. 2546 เขาได้เปิดตัวบทเพลง “ไม้ไผ่ในตึกสูง - ลำไผ่ในตึกสูง” อัลบั้มแรกของเขา โดยในทุกบทเพลงจะใช้ขลุ่ยในการบรรเลงเพลง ในปีเดียวกัน เขาได้ก่อตั้งวงออร์เคสตราร่วมสมัยล้านนา “The TIP Orchestra of Chiangmai” และได้แสดงในงานสำคัญๆ มากมายทั่วประเทศ ในปี พ.ศ. 2546 เขาได้ก่อตั้งวงออร์เคสตราล้านนาวงแรก ซึ่งเป็นวงออร์เคสตราขนาดใหญ่จากการผสมผสานเครื่องดนตรีจากฝั่งตะวันตก และเครื่องดนตรีล้านนาเข้าไว้ด้วยกัน วงออร์เคสตราล้านนาได้แสดงครั้งแรกในการแสดงแสงสีเสียงในพิธีเปิด “เวียงกุมกาม เมืองสาบสูญ” ถวายแด่สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์และเจ้าฟ้ามหาวชิราลงกรณ์ (พระยศในขณะนั้น)

Chol Bunnag

Chol has a bachelor’s degree in Economics from Thammasat University and a master’s in Development Economics from the UK. He is currently the founder and director of SDG Move, a research center in the Faculty of Economics in Thammasat University that researches and supports the implementation of sustainable development goals (SDGs) in Thailand. He is also the manager of SDSN Thailand, which is a national network connected with the UNSDSN, a global academic network for sustainable development. Chol is an economist with interests in sustainable development, environmental management, agricultural and rural development, support systems for SDG implementation and SDG governance. Chol is also one of a few scholars in Thailand who has closely followed SDG implementation in Thailand from its earliest days. ชล สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีสาขาเศรษฐศาสตร์ จากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และปริญญาโทด้านเศรษฐศาสตร์พัฒนา จากสหราชอาณาจักร ชล เป็นผู้ก่อตั้งและผู้อำนวยการของ SDG Move ซึ่งเป็นศูนย์วิจัยภายใต้คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่ทำการวิจัยและสนับสนุนการขับเคลื่อนเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ในประเทศไทย และเป็นผู้จัดการเครือข่าย SDSN ประเทศไทยซึ่งเชื่อมโยงกับ UNSDSN เครือข่ายวิชาการระดับโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ชล เป็นนักเศรษฐศาสตร์ที่สนใจด้านการพัฒนาที่ยั่งยืน การจัดการสิ่งแวดล้อม และการพัฒนาการเกษตรและชนบท ระบบที่ช่วยสนับสนุนการขับเคลื่อน SDGs และระบบธรรมาภิบาล (Governance) ชลยังเป็นหนึ่งในนักวิชาการไม่กี่คนในประเทศไทยที่ทำการติดตามการขับเคลื่อน SDGs ในประเทศไทยมาตั้งแต่ต้น

Christopher Oestereich

Chris Oestereich is a writer, lecturer, and circular economy leader who formerly led zero waste programs in the US grocery industry. He now helps organizations shift towards the circular economy via his firm, Linear to Circular, and he's launching a program that will partner with informal workers to create waste-to-value products. Chris is a global ambassador for The RSA, the publisher of the Wicked Problems Collaborative, a lecturer at Thammasat University's School of Global Studies, and a co-founder of the Circular Design Lab, an initiative that's working to bring systemic design to communities. คริส เอสเตอไค เป็นนักเขียน วิทยากร และผู้นำด้านเศรษฐกิจหมุนเวียน ซึ่งก่อนหน้านี้เคยเป็นผู้นำโครงการ โครงการขยะเป็นศูนย์ (Zero Waste) ในอุตสาหกรรมของอุปโภคบริโภคในประเทศสหรัฐฯ ตอนนี้เขาช่วยให้องค์กรต่างๆ เปลี่ยนไปใช้ระบบเศรษฐกิจหมุนเวียนผ่านบริษัทของเขาที่ชื่อว่า Linear to Circular และเขากำลังเปิดตัวโครงการที่จะร่วมมือกับแรงงานนอกระบบเพื่อสร้างผลิตภัณฑ์จากขยะสู่มูลค่า คริสยังเป็นทูตระดับโลกของ The RSA ผู้ผลิตสื่อ Wicked Problems Collaborative เป็นอาจารย์ที่วิทยาลัยโลกคดีศึกษา (School of Global Studies)g แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และผู้ร่วมก่อตั้ง Circular Design Lab ซึ่งเป็นความพยายามที่นำการออกแบบที่เป็นระบบมาสู่ชุมชน

Cyrus James Khan

Cyrus is a self-taught digital artist, 3D generalist and game developer with over 10 years of experience working in VFX, 3D modeling, animation, rendering, logic systems and everything in between. His lifelong interest in information technology and science fiction has pushed him to the cutting edge of technological advances, leading him to become an early adopter and developer in fields such as virtual reality, game development and blockchain technology. He co-founded the Atlas company, designing a decentralized freelance system, and has been taken on as a creative associate and consultant for notable companies such as the Kantana Group, the Central Group, Chang, FTCC, Propaganda GEM and more. Aside from commissioned work, he continues pursuing innovative intellectual property development including digital 3D artwork, interactive experiences and video games. ไซรัสเป็นศิลปินดิจิทัล นักออกแบบสามมิติ (3D Generalist) และนักพัฒนาเกมส์ ที่เรียนรู้ด้วยตนเอง และมีประสบการณ์มากกว่า 10 ปี ในการทำงานด้าน VFX เทคนิคที่ใช้เพื่อสร้าง หรือนำเสนอมุมมอง ภาพที่มีลักษณะพิเศษ หรือภาพที่ไม่สามารถถ่ายทำได้จริง การสร้างโมเดลสามมิติ การสร้างภาพเคลื่อนไหว การสร้างภาพจากแบบจำลอง ระบบตรรกะ และอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องในสาขานี้ ความสนใจสารสนเทศและนิยายวิทยาศาสตร์ทำให้เขาผลักดันตัวเองมาเอาดีทางด้านเทคโนโลยีล้ำยุค เป็นนักพัฒนาเทคโนโลยีเสมือนจริง เกมส์ และบล็อกเชน เขาก่อตั้งบริษัทแอตลาส ออกแบบระบบที่รับงานอิสระ และเป็นที่ปรึกษาฝ่ายสร้างสรรค์ให้แก่ กันตนา กรุ๊ป เซ็นทรัลกรุ๊ป เบียร์ช้าง เอฟทีซีซี โพรพากานดาเจม เขายังพัฒนางานด้านทรัพย์สินทางปัญญา เช่น งานดิจิทัลสามมิติ งานที่เน้นการสื่อสารแบบปฏิสัมพันธ์ และวิดีโอเกม

Lalita Hanwong

Lalita Hanwong is a lecturer at the Faculty of Social Sciences, Kasetsart University in Bangkok. She teaches modern Southeast Asian history with emphasis on Myanmar and writes a weekly article for Matichon newspaper. Her research includes work on Hla Myint, the great economist of Myanmar and the relations between Myanmar and Thailand during the Cold War. As a columnist, she is interested in contemporary issues including democratization, ethnic relations, and the Myanmar economy. ลลิตา หาญวงษ์ เป็นอาจารย์ประจำคณะสังคมวิทยา มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ โดยเชี่ยวชาญด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้สมัยใหม่ โดยเฉพาะในประเด็นของประเทศเมียนมาร์ นอกจากนี้ยังเป็นคอลัมนิสต์รายสัปดาห์ ให้กับหนังสือพิมพ์มติชน โดยงานวิจัยของลลิตา ประกอบไปด้วยงานที่เกี่ยวข้องกับหละ มยิ้น (Hla Myint) นักเศรษฐศาสตร์ชาวเมียนมาร์ และความสัมพันธ์ระหว่างไทยและเมียนมาร์หลังยุคสงครามเย็น ส่วนงามคอลัมนิสต์นั้น จะเป็นบทความเหตุการณ์ร่วมสมัยเกี่ยวกับประชาธิปไตย ความสัมพันธ์ชนเผ่า และเศรษฐกิจเมียนมาร์

Nalee (Khru Bella) Intaranan

นลี อินทรนันทน์ หรือ ครูเบลล่า ครูสอนร้องเพลง และนักรณรงค์แก้ไขปัญหา ฝุ่นควันเชียงใหม่ ของสภาลมหายใจเชียงใหม่ นอกจากนี้ยังเป็นผู้ก่อตั้งโครงการ ‘ปั่น เพื่อ เปลี่ยน’ ด้วยวัตถุประสงค์ เพื่อรณรงค์การใช้จักรยาน เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการสัญจรที่เป็นมิตรต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม Khun Nalee Intaranan or commonly called Khru Bella is a music teacher and a local activist involved in the Chiang Mai Breath Council, She is involved in many other community projects and promotes the use of bicycles in Chiang Mai called "Spin To Change"

Pakee Phupradist

Pakee Phupradist (Key) is a Non-Alcoholic Mixologist and the founder of intangible, the only non-alcoholic cocktail bar in Thailand. His bar serves concept drinks as a “Drink Course” using local ingredients sourced from communities around the country without recourse to any alcoholic content. Each drink & course for each season will contain background stories that endow customers with meaningful ideas benefitting their thoughts and feelings. Pakee began his career as a bartender 12 years ago and has continuously worked in the F&B (food and beverage) industry since then, becoming a drinks designer, consultant, and advisor in the beverage business for companies, cafes, and bars. Pakee hold a bachelor’s degree in International Hospitality Management from Payap University. He believes that all ingredients have value and that there are no boundaries. He is intrigued by local ingredients and studies their nature, origins and traditions of use. Using his techniques and professionalism gained in his F&B experience, he creates valuable artworks in the form of drinks that represent the importance of natural ingredients and ideas on life experienced through taste. ภาคี ภู่ประดิษฐ์หรือคี เป็นผู้ก่อตั้งร้าน Intangible ร้าน Non-Alcoholic Cocktail Bar หนึ่งเดียวใน ไทยที่เสิร์ฟและนําเสนอวัตถุดิบจากหลากหลายชุมชนทั่วประเทศ ให้ออกมาในลักษณะของ Drink Course นําเสนอเรื่องราวที่เปี่ยมไปด้วยความหมาย ให้แง่คิด ความรู้สึก และมุมมองในการดําเนินชีวิต ผ่านเครื่องดื่มแต่ละแก้ว ภาคีเริ่มสายงานด้วยอาชีพบาร์เทนเเดอร์ เมื่อ 12 ปีที่แล้ว เติบโตในสายอาหารและเครื่องดื่มเรื่อยมา เป็นที่ปรึกษาด้านธุรกิจเครื่องดื่ม และออกแบบเครื่องดื่มให้แก่ร้านและบริษัทต่างๆ สําเร็จการศึกษาปริญญาตรีบริหารธุรกิจ สาขาการจัดการงานบริการ หลักสูตรนานาชาติ มหาวิทยาลัยพายัพ ด้วยความเชื่อที่ว่าทุกวัตถุดิบมีคุณค่าและไม่มีพรมแดน ภาคีจึงมีความสนใจในการศึกษาเรียนรู้วัตถุดิบชุมชน ที่มีพื้นฐานทางประวัติศาสตร์วัฒนธรรมและธรรมชาติ จากแต่ละพื้นถิ่น โดยนำประสบการณ์ในด้านอาหารและเครื่องดื่มมาต่อยอดและสร้างสรรค์เครื่องดื่มที่โดดเด่นในเรื่องวัตถุดิบธรรมชาติ และมุมมองชีวิต ที่ทุกคนสัมผัสได้ผ่านรสชาติ

Parit Wacharasindhu

Parit is a social entrepreneur and the CEO of StartDee, an EdTech start-up aimed at reducing inequality in education through developing an online learning application that enables students to access learning content at affordable prices. In parallel, he is leading a campaign for a democratic constitution under the Re-Solution group, having collected over 150,000 signatures to submit a draft constitutional amendment to Parliament. He is also a podcast host, a columnist, and an author on Thai politics. Prior to his current roles, Parit worked as a management consultant at McKinsey & Company after graduating in Philosophy, Politics and Economics at the University of Oxford, where he was also elected as President of the Oxford Union. พริษฐ์ ปัจจุบันเป็น CEO ของ StartDee สตาร์ทอัพด้านการศึกษาที่มุ่งลดความเหลื่อมล้ำทางการศึกษา ผ่านการพัฒนาแอปพลิเคชันการเรียนออนไลน์เพื่อให้นักเรียนทั่วประเทศเข้าถึงเนื้อหาการเรียนการสอนที่มีคุณภาพได้ผ่านสมาร์ทโฟน ในขณะเดียวกัน เขาเป็นหนึ่งในแกนนำของกลุ่ม Re-solution ที่รณรงค์ให้มีการร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ที่เป็นประชาธิปไตย โดยล่าสุดได้รวบรวมกว่า 150,000 รายชื่อเพื่อยื่นร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญสู่รัฐสภา นอกจากนั้น เขายังเป็นผู้จัดพอดคาสต์ คอลัมนิสต์ และนักเขียนด้านการเมืองไทย ก่อนหน้านี้ พริษฐ์ เคยทำงานเป็น Management Consultant ที่บริษัท McKinsey & Company หลังสำเร็จการศึกษาด้านปรัชญา การเมืองและเศรษฐศาสตร์ที่ University of Oxford โดยขณะอยู่ที่มหาวิทยาลัย เขาเคยได้รับเลือกให้เป็นประธานชมรมโต้วาที Oxford Union

Phongsatorn Saisutjarit

Phongsarorn is the (Acting) Director and a lecturer at the International Institute of Space Technology for Economic Development (InSTED) at the Department of Mechanical & Aerospace Engineering, King Mongkut University of Technology in North Bangkok (KMUTNB) He obtained an engineering degree from the Department of Aeronautics and Astronautics at the University of Tokyo, a Master’s in Engineering from the Department of Aerospace Engineering, Tohoku University and his PhD from the Department of Aeronautics and Astronautics from the University of Tokyo. He has been a lecturer at the Department of Mechanical and Aerospace Engineering, King Mongkut University of Technology in North Bangkok (KMUTNB) since 2012. His research interests include Nano/micro/pico-satellite design and development, spacecraft guidance, navigation and control systems, and optimal and attitude controls for spacecraft. He was the project manager of Thailand's first CubeSat "KNACKSAT 1” and was program manager of Thailand's second CubeSat "BBCSAT-1" made by high school students from Bangkok Christian College. พงศธร สายสุจริต รักษาการผู้อำนวยการ สถาบันเทคโนโลยีอวกาศนานาชาติ เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ (สทอศ.) และ อาจารย์ประจำภาควิชาเครื่องกลและการบิน-อวกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ จบการศึกษาระดับปริญญาตรี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา Aeronautics and Astronautics จาก The university of Tokyo ปริญญาโท คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา Aerospace Engineering จากมหาวิทยาลัย Tohoku และปริญญาเอก คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขา Aeronautics and Astronautics จาก The university of Tokyo มีความเชี่ยวชาญและความสนใจ ในด้านการออกแบบพัฒนาระบบดาวเทียมขนาดเล็ก (Nano/micro/pico-satellite) ระบบการนำวิถี การนำทางและการควบคุมยานอวกาศ และเป็นอาจารย์ประจำภาควิชาเครื่องกลและการบิน-อวกาศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ตั้งแต่พ.ศ. 2555 เป็นผู้จัดการโครงการดาวเทียม KNACKSAT-1 ซึ่งเป็นดาวเทียม CubeSat ดวงแรกของไทย และเป็นผู้ดูแลโครงการ BCCSAT-1 ซึ่งเป็นดาวเทียม CubeSat ดวงที่สองของไทยที่สร้างโดยนักเรียนมัธยมโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย

Thanisara Ruangdej

Thanisara Ruangdej studied western languages majoring in Italian at Chulalongkorn University’s Faculty of Arts before earning an MBA at Chulalongkorn University’s Faculty of Commerce and Accounting. She was a former editorial assistant and journalist for The Matter (https://thematter.co), an online news media organization. She is the project manager and co-founder of ELECT, (https://elect.in.th), which uses data and digital technology to promote democratic ideas and create more civil participation in Thailand’s politics and elections. She is also the CEO and Co-founder of Punch UP (https://punchup.world), Thailand’s first studio specializing in the use of data and design technology for storytelling. ธนิสรา เป็นผู้บริหาร และ ผู้ร่วมก่อตั้ง Punch Up (https://punchup.world) สตูดิโอที่ให้คำปรึกษาและออกแบบการสื่อสารด้วยข้อมูลและภาพ เป็นสตูดิโอรายแรกของประเทศไทยที่ผสมผสานความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ข้อมูล งานออกแบบ และเทคโนโลยีเพื่อการเล่าเรื่อง ผู้จัดการโครงการและผู้ร่วมก่อตั้ง ELECT (https://elect.in.th) สื่อข้อมูลและเทคโนโลยีภาคประชาชน ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อใช้ข้อมูลและเทคโนโลยีขับเคลื่อนการมีส่วนร่วมทางการเมืองและการเลือกตั้งของประชาชน โดยเริ่มต้นเมื่อช่วงเลือกตั้ง 2562 อดีตผู้ช่วยบรรณาธิการบริหารและนักเขียน สำนักข่าวออนไลน์ The MATTER ปริญญาตรีสาขาภาษาตะวันตก คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และปริญญาโทด้านบริหารธุรกิจ คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Torplus Yomnak

Torplus is an assistant professor and the director of political economics studies at the Faculty of Economics, Chulalongkorn University. His passion in fighting corruption and enhancing good governance started since his undergraduate degree, when he wrote his first academic article on Corruption in Thailand, and he used his findings from this for his PhD dissertation. At Chulalongkorn University, he co-founded SIAM Lab to study corruption from multidisciplinary approaches including economics, law, political science, education, linguistics, and data analytics to obtain a wider spectrum regarding solutions. Findings from the research are then implemented by HAND Social Enterprise, which he also co-founded, and which creates an ecosystem that systematically facilitates anti-corruption and good governance initiatives in Thailand. ต่อภัสสร์เป็นอาจารย์และผู้อำนวยการศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมืองอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาฯเขาเริ่มสนใจเรื่องการต่อต้านคอร์รัปชันและเสริมสร้างธรรมาภิบาลตั้งแต่ที่เลือกศึกษาเรื่องนี้ในปริญญานิพนธ์สมัยเรียนปริญญาตรี และได้นำข้อค้นพบจากงานนี้ไปศึกษาต่อจนจบปริญญาเอก เมื่อเรียนจบกลับมาสอนที่จุฬา ต่อภัสสร์ได้ร่วมก่อตั้งศูนย์วิจัย SIAM Lab ซึ่งมุ่งเน้นศึกษาเรื่อง คอร์รัปชันผ่านมุมมองหลากหลายศาสตร์ ทั้งเศรษฐศาสตร์ นิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ การศึกษา ภาษาศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ข้อมูล เพื่อหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ ครอบคลุมและหลากหลายขึ้นกว่าเดิม จากนั้นผลวิจัยต่าง ๆ ของศูนย์วิจัยจะได้ถูกนำมาประยุกต์ใช้จริงโดย แฮนด์ วิสาหกิจเพื่อสังคม ที่เขาร่วมก่อตั้ง ทำให้เกิดเป็นระบบนิเวศที่ส่งเสริมงานต่อต้านคอร์รัปชันและเสริมสร้างธรรมาภิบาลในประเทศไทยอย่างเป็นระบบ

Wan Wiriya

Wan Wiriya is a lecturer at the Environmental Science Research Center and Department of Chemistry at the Faculty of Science, Chiang Mai University. His expertise is in air pollution monitoring for particulate matter, PAHs (Polycyclic aromatic hydrocarbons) from biomass burning, atmospheric acid accumulation, masks for protecting against PM2.5 micro-particles and COVID-19 viruses, and low-cost sensor development. He also assists in relevant community activities. ว่าน วิริยา เป็นอาจารย์ศูนย์วิจัยวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อมและภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ เชี่ยวชาญในเรื่องการตรวจสอบมลพิษทางอากาศ รวมถึงเรื่องฝุ่นละออง PAHs (Polycyclic aromatic hydrocarbons) จากการเผาไหม้ของสารชีวมวล การสะสมของกรดในบรรยากาศ หน้ากากสำหรับการป้องกัน PM2.5 และ COVID-19 การพัฒนาระบบตรวจจับต้นทุนต่ำ รวมทั้งมีส่วนช่วยเหลือในหลายๆ กิจกรรมของชุมชน

Wayla Amatathammachad

Wayla is the current director of the International Low-Fat Art Fes that focuses on multi-level collaboration between art communities and CSOs to expand utilization of contemporary arts in society. He is also an independent contemporary art management researcher. His current project involves developing an open art network called ‘Prayoon for Art’ that includes volunteer art enthusiasts from all backgrounds to help build alliance networks stimulating the transnational sustainable creative ecosystem. เวลาดำรงตำแหน่งผู้อำนวยการเทศกาลศิลปะนานาชาติ Low Fat Art Fes ที่มุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือระหว่างชุมชนศิลปะและภาคประชาสังคมเพื่อขยายโอกาสในการหยิบใช้งานศิลปะร่วมสมัยในสังคม เขายังเป็นนักวิจัยอิสระทางด้านการจัดการโครงการศิลปะ เวลากำลังผลักดันเครือข่ายสาธารณะภายใต้ชื่อ 'ประยูรเพื่อศิลปะ' ที่รวบรวมอาสาสมัครที่มีความสนใจในศิลปะจากหลากหลายความเชี่ยวชาญเพื่อสร้างเครือข่ายพันธมิตรในการขับเคลื่อนการสร้างนิระบบนิเวศการทางความคิดสร้างสรรค์ระดับข้ามชาติ

Organizing team

Martin
Venzky-Stalling

Chiang Mai, Thailand
Organizer

Wijanee
Sendang

Co-organizer
  • Annette Kunigagon
    Operations
  • Jarunee Suntornnark
    Team member
  • Ketsuphee Phanachet
    Partnerships/Sponsorship